วีดีโอที่คนชอบที่สุด
Smart Farmer (สมาร์ท ฟาร์เมอร์) กลายเป็นต้นแบบและความหวังในอนาคตของภาคการเกษตร หลายคนเคยได้ยินคำนี้ แต่คงไม่เข้าว่า เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer อย่างเต็มตัวนั้น เขามีวิธีในการทำการเกษตรอย่างไร คุณมาสิรี กล่อมแก้ว ผู้สื่อข่าวไทยรัฐทีวี จะพาไปเรียนรู้องค์ประกอบผ่าน Smart Farmer ตัวจริง ติดตามจากรายงาน
ติดตามเราได้ที่
Website : http://www.thairath.tv
Facebook : https://www.facebook.com/thairathtv
Twitter : https://twitter.com/Thairath_TV
Instagram : https://instagram.com/thairathtv
Youtube Channel : https://www.youtube.com/channe....l/UCrFDdD-EE05N7gjwZ
การใช้เครื่องมือ Social Innovation Canvas ออกแบบโครงการของอปท. เพื่อการแก้ไขปัญหาในชุมชนอย่างแท้จริง
การประชุมเชิงปฏิบัติการอยางมีส่วนร่วมครั้งที่ 4 วันที่ 26-27 กุมภาพันธ์ 2563 ณ เทศบาลตำบลห้วยงู อำเภอหันคา และโรงแรม ๑๑๑ รีสอร์ทแอนด์สปา อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท
ประเทศไทยเป็นประเทศที่ยังคงมีศักยภาพสูงในการสร้างผลผลิตทางการเกษตร โดยเฉพาะในภูมิภาคของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ดังนั้นเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการผลิต และยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าเกษตรเพื่อการแข่งขันในด้านการส่งออก เทคโนโลยีจึงมีความจำเป็นเป็นอย่างมากเพื่อที่จะพัฒนาขีดความสามารถของเกษตกรและจีดีพีของประเทศให้เพิ่มสูงขึ้นด้วย
การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรภายใต้ความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยในเขตภาคเหนือ
เกษตรกรที่เป็นแบบอย่างในการทำ โคก หนอง นา โมเดล ได้อย่างน่าสนใจ มีการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเอามาใช้ในการดำรงชีวิต เป็นแบบอย่างในการบริหารจัดการน้ำอย่างมประสิทธิภาพ มีอาหารครบอุดมสมบูรณ์ ไม่จำเป็นต้องหาซื้อ สามารถเลี้ยงชีพตัวเองได้ และยังสามารถแบ่งปันให้เพื่อนบ้านได้อีกด้วย
ประเทศไทยเป็นประเทศที่ยังคงมีศักยภาพสูงในการสร้างผลผลิตทางการเกษตร โดยเฉพาะในภูมิภาคของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ดังนั้นเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการผลิต และยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าเกษตรเพื่อการแข่งขันในด้านการส่งออก เทคโนโลยีจึงมีความจำเป็นเป็นอย่างมากเพื่อที่จะพัฒนาขีดความสามารถของเกษตกรและจีดีพีของประเทศให้เพิ่มสูงขึ้นด้วย
“การตลาด นำการผลิต” หอการค้าไทยร่วมกับหอการค้าจังหวัด เปิดตัวโครงการ “1 หอการค้า ดูแลอย่างน้อย 1 สหกรณ์การเกษตร” เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ภาคเกษตร ซึ่งจะนำองค์ความรู้และประสบการณ์ในด้านการบริหารจัดการของภาคธุรกิจเข้าไปสนับสนุนการพัฒนาด้านต่าง ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตร และทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น ตลอดจนมีความมั่นคงในชีวิตมากขึ้น
ในขณะนี้ได้เข้าไปช่วยเหลือสหกรณ์การเกษตร มาระยะหนึ่งแล้ว และประสบผลสำเร็จซึ่งมีสหกรณ์การเกษตรเข้าร่วมโครงการแล้ว จำนวน 29 แห่งโดยมีหอการค้าจังหวัดดูแลรับผิดชอบ จำนวน 17 หอการค้าจังหวัด ระบบสหกรณ์การเกษตรของไทยมีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยในปัจจุบันมีจำนวนสหกรณ์การเกษตรกว่า 3,800 แห่ง มีสมาชิกกว่า 6 ล้านคน และเงินทุนดำเนินงานประมาณ 2.3 แสนล้านบาทต่อปี แต่การบริหารจัดการระบบสหกรณ์ยังขาดความเข้มแข็ง สมาชิกส่วนใหญ่ซึ่งเป็นเกษตรกรที่มีความรู้เฉพาะด้านการเกษตรยังมีช่องว่างในการปรับปรุงพัฒนาระบบการบริหารจัดการ การทำการตลาดตลอดจนการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่า (Move Up the Value Chain) หากเกษตรกรได้มีการพัฒนาในส่วนนี้จะช่วยให้มีรายได้เพิ่มขึ้นและมีความมั่นคงในชีวิตที่ดีขึ้นจะเกิดประโยชน์ต่อสมาชิกสหกรณ์ และต่อเศรษฐกิจของประเทศอย่างมหาศาล
หอการค้าจังหวัดที่ได้เริ่มดำเนินโครงการต้นแบบ ได้แก่ หอการค้าจังหวัดพิษณุโลก มีรูปแบบการพัฒนาการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ตามตลาดที่ต้องการ โดยได้กำหนดบทบาทหน้าที่การดำเนินงานของแต่ละหน่วยงาน และกำหนดขั้นตอนข้อปฏิบัติของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรที่เข้าร่วมโครงการ และมีการติดตามประเมินผลอย่างใกล้ชิด ส่งผลให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโรงการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากเดิม ประมาณ 34 เปอร์เซนต์ หอการค้าจังหวัดอ่างทองที่ได้เข้าไปช่วยเหลือกลุ่มเกษตรกรในรูปแบบการตลาด นำการผลิต โดยจะใช้วิธีการสำรวจปริมาณความต้องการตลาดเพื่อนำมาให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีการผลิตสินค้าตามปริมาณของตลาด และได้ขยายพื้นที่ไปในหลายจังหวัดด้วยกัน
โรงพยาบาลเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม
ที่มีคุณภาพด้วยมาตรฐานสากล และเป็นที่พึ่งของประชาชนอย่างเท่าเทียม
การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรภายใต้ความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยในเขตภาคเหนือ : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มข้าวอินทรีย์ชาวนาขาเดฟ
การประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ครั้งที่ 1 รูปแบบ Hybridในโครงการ “นวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: ระยะที่ 3 ” และหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ภาวะผู้นำสร้างการเปลี่ยนแปลงตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Transformative Leadership of Sufficiency Economy Philosophy: TL -SEP)"ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม พ.ศ. 2564 ณ เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ และผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Zoom)
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ตอนนี้ร้านอาหาร “โอ้กะจู๋” คงเป็นร้านที่ใครหลายๆ คนคุ้นเคยกันดี ซึ่งเค้าก็มีหลายสาขามากๆ แต่เค้าก็สามารถส่งผักไปได้ทั่วถึงทุกสาขา โดยที่ผักทุกต้นยังสดอยู่ วันนี้ผมจะพาไปดูว่าเค้าทำได้ยังไง*ขอบคุณ airasia Super App ที่สนับสนุนคลิปนี้ครับ*
ข้อมูลเพิ่มเติม: https://www.airasia.com/aa/appdownload/th/th/
FOLLOW MEon:
https://www.facebook.com/BoomTharis/
https://www.instagram.com/BoomTharis/
https://twitter.com/BoomTharis/
เปิดธุรกิจแรกของรายการ Good Business ด้วยการพาทุกคนไปบุกโรงงานของเล่น ‘PlanToys’ แบรนด์อายุ 40 ปีที่หลายคนเข้าใจผิดว่าเป็นแบรนด์ต่างชาติ แต่แท้จริงแล้ว Made in ตรัง ทำของเล่นจากไม้ยางธรรมชาติเหลือใช้ หาได้ง่ายในประเทศ และปลอดภัยกับเด็ก ๆ นอกจากทัวร์โรงงานแล้ว เรายังเจาะลึกลงไปถึงมุมมองแก่นแท้ของ โกสินทร์ วิระพรสวรรค์ กรรมการผู้จัดการ ว่าทำไมถึงคิดว่าของเล่น 1 ชิ้นจะสร้างโลกที่ดีขึ้นได้ความหมายของธุรกิจที่ดีคืออะไร และหากธุรกิจนั้นเปลี่ยนโลกได้จริง จะต้องใช้ปณิธานแบบไหน The Cloud ขอพาทุกคนไปพบกับ The Good Business EP. 01
#plantoys #thegoodbusiness #readthecloud #thecloud #ธุรกิจ #ตรัง
ติดตาม The Cloud ได้ตามช่องทางต่างๆ ดังนี้
https://readthecloud.co
https://www.facebook.com/readthecloud/
https://twitter.com/readthecloud
https://www.instagram.com/readthecloud.co/
การดำเนินงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง โรงพยาบาลตรอน
ด้วยพลังสามัคคีของชุมชนหนองโจด หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง อ.โนนแดง จ.นครราชสีมา
โดย คุณชนาธิป เลขะกุล หนึ่งในกิจกรรมของการประชุมเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม ครั้งที่ 3 วันที่ 18 ตุลาคม 2562 ณ ห้องประชุมโรงเรียนท่ามะนาว อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
การดำเนินงาน โรงพยาบาลเศรษฐกิจพอเพียง
โรงพยาบาลบ้านแพรก
จ.พระนครศรีอยุธยา
การประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ครั้งที่ 3 รูปแบบ Hybridในโครงการ “นวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: ระยะที่ 3 ” และหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ภาวะผู้นำสร้างการเปลี่ยนแปลงตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Transformative Leadership of Sufficiency Economy Philosophy: TL -SEP)"ระหว่างวันที่ 22-23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ เทศบาลตำบลหาดทนง และองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่แบน จังหวัดอุทัยธานี และผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Zoom)
โรงพยาบาลเวียงหนองล่อง จังหวัดลำพูน