ผมมีโอกาสได้รับคำเชิญจากกัลยาณมิตรทั้งหลาย ทั้งที่เป็นบุคคล และองค์กรต่างๆ เพื่อไปบรรยายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กระบวนการคิด หลักคิด การประยุกต์ใช้ ทำให้เกิดเป็นการวิเคราะห์เศรษฐกิจพอเพียงเชิงระบบ ซึ่งได้ขยายขอบเขตของการอธิบายความของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากเดิม (3 ห่วง 2 เงื่อนไข) ให้มีความละเอียดชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นพื้นฐานของชีวิต และเพื่อให้บุคคล ชุมชน และองค์กรต่าง ๆ ได้นำไปเป็นแนวทางปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ผมขอแบ่งปันงานนำเสนอที่ได้ใช้บรรยายมา ณ ที่นี้ครับ
การต่อยอดแก้ปัญหาความยากจน ความเหลื่อมล้ำ และคอรัปชั่น ในสังคมไทย ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เสนอต่อ คณะกรรมาธิการวุฒิสภา เพื่อการแก้ปัญหาความยากจน และลดความเหลื่อมล้ำ ของประเทศไทย
โดย ศาสตราจารย์ ดร. อภิชัย พันธเสน และคณะ
สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคมมูล
นิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
วันที่ 24 ตุลาคม 2566
การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาครัฐ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อความสุขและประโยชน์สุขของประชาชนไทย
โดย ศาสตราจารย์ ดร. อภิชัย พันธเสน
สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม
มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ
10 สิงหาคม 2566
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กรอบคิดและทฤษฎี
Sufficiency Economy Philosophy :
Conceptual Framework and Theory
โดย ศาสตราจารย์ ดร.อภิชัย พันธเสน
มหาวิทยาลัยนเรศวร
21 กุมภาพันธ์ 2565
ก้าวต่อไปของการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับ อปท. ทั่วประเทศ
โดย ศาสตราจารย์ ดร.อภิชัย พันธเสน
5 ตุลาคม 2564